อาทิตย์, 24 พฤศจิกายน 2024
Home ความรู้พื้นฐาน


ภาพนี้เป็นลิขสิทธิ์ของ Sages Academy ห้ามมิให้ผู้ใด นำไปทำซ้ำ ดัดแปลง แก้ไข หรือ เผยแพร่ โดยมิได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจาก Sages Academy ผู้ละเมิดจะถูกดำเนินคดีตามกฎหมาย






ฮวงจุ้ย ซำง้วน: ตารางเทียบเวลาให้เป็นข่วย  


จากบทความที่แล้ว ได้อธิบายวิธีการเทียบ ปี เดือน วัน จากโปรแกรมดวงจีนให้เป็นข่วย บทความนี้ เราจะทำการตั้งดวงข่วย หรือ ฤกษ์ข่วย ในหลักยาม/เวลา ซึ่งมีวิธีการสลับซับซ้อนพอสมควร สิ่งแรกที่ต้องเข้าใจ ก็คือว่า จากรูปดวงจีนในโปรแกรม ให้มองหาราศีบนของดิถี หรือ หลักวัน ดูว่าเป็นตัวใด

เวลา
ดิถี/หลักวัน
甲, 己
乙, 庚
丙, 辛
丁, 壬
戊, 癸
23.00-1.00
(ยาม 子)
1.00-3.00
 (ยาม 丑)
3.00-5.00
(ยาม 寅)
5.00-7.00
 (ยาม 卯)
7.00-9.00
(ยาม 辰)
9.00-11.00
(ยาม 巳)
11.00-13.00
(ยาม 午)
13.00-15.00
(ยาม 未)
15.00-17.00
(ยาม 申)
17.00-19.00
(ยาม 酉)
19.00-21.00
(ยาม 戌)
21.00-23.00
(ยาม 亥)


ตัวอย่าง สมมติว่า เป็นวันที่ 6 ตุลาคม 2550 เวลา 07.00-09.00 น. (โดยเปิดจากปฏิทินจีน หรือ ใช้โปรแกรมดวงจีน) จะได้รูปดวงเพื่อนำมาพิจารณาฤกษ์ หรือ ดวงข่วย ดังต่อไปนี้



เมื่อได้รูปดวงจีน จากโปรแกรมที่กรอกตาม ปี เดือน วัน ที่กำหนดแล้ว ก็นำเอาหลักปี หลักเดือน หลักวัน ของโปรแกรมดวงจีน ไปเทียบในตารางข่วยด้านบน จะได้รูปฤกษ์ข่วย หรือ ดวงข่วย ดังต่อไปนี้


เวลา
วัน
เดือน
ปี

-


ต่อไปคือ การหารูปดวงข่วย หรือ รูปฤกษ์ข่วย ในหลักยาม/เวลา โดยพิจารณาจากปัจจัย 2 อย่าง คือ (ในกรณีที่เทียบจากปฏิทินจีน โดยไม่ใช้โปรแกรม)


1) ราศีบนของดิถี/วัน เป็นอะไร แล้วนำไปเทียบในตารางในแนวตั้ง ในตัวอย่างนี้ ราศีบนของดิถี/วัน คือ 癸


2) จากปัจจัยที่ 1 เราจะได้รูปตารางในแนวตั้งแล้ว ต่อไปคือ การหาจุดตัดในแนวนอน โดยอาศัยปัจจัยที่ 2 คือ ช่วงเวลาในตัวอย่าง คือ 07.00-09.00 น. เมื่อทราบดังนั้น ก็จะได้รูปตารางในแนวนอน จากจุดตัดของตารางในในตั้ง และ ตารางในแนวนอน จะพบข่วยของหลักยาม คือ ข่วย 41 (丙辰) เมื่อนำไปเติมลงในช่องหลักยาม จะได้รูปดวงข่วย หรือ รูปฤกษ์ข่วย ครบทั้ง 4 หลัก ดังนี้


เวลา
วัน
เดือน
ปี


จากที่กล่าวมาแล้วนั้น ในกรณีที่ท่านใช้เปิดปฏิทินจีน (สำหรับท่านที่ไม่มีโปรแกรม) เทียบเอา แต่สำหรับท่านที่ใช้โปรแกรมดวงจีน สามารถนำเอาฤกษ์ยาม/เวลาที่ปรากฏในโปรแกรมเทียบข่วยได้เลย


[SA เผยแพร่บทความนี้เมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน 2551 เวลา 7.14 น. จึงขอสงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ปี 2537 ห้ามมิให้ผู้หนึ่งผู้ใดนำไปใช้แสดงหาผลประโยชน์ในการสอน หรือ การกระทำอื่นๆ ที่มีมูลค่า หลักการดังกล่าวนี้มีไว้เพื่อเผยแพร่แก่ผู้สนใจเท่านั้น]



อ่านพื้นฐานวิชาฮวงจุ้ยซำง้วนทั้งหมด >>> คลิ๊กที่นี่

 

บทความยอดนิยม Popular Articles

บทความล่าสุด Latest Articles

เรื่องน่าสนใจ Sages Recommend



กรณีที่ท่านมีปัญหาในการเข้าชมเว็บนี้ อันเนื่องมาจากเวอร์ชั่นของ Internet Explorer (IE) ของท่านเป็นเวอร์ชั่น 6 หรือต่ำกว่า ดังนั้นเพื่อให้เข้าชมเว็บให้ได้อย่างมีอรรถรส กรุณาอัพเดทเวอร์ชั่นของ Internet Explorer (IE) เป็นเวอร์ชั่น 7 ก่อน สามารถดาวน์โหลดได้ที่นี่

หรือทำการติดตั้ง Firefox สามารถดาวน์โหลดได้ที่นี่

 

Your are currently browsing this site with Internet Explorer 6 (IE6).

Your current web browser must be updated to version 7 of Internet Explorer (IE7) to take advantage of all of template's capabilities. Download IE7