ศุกร์, 27 ธันวาคม 2024
Home ทงปี่และการให้บริการ


ภาพนี้เป็นลิขสิทธิ์ของ Sages Academy ห้ามมิให้ผู้ใด นำไปทำซ้ำ ดัดแปลง แก้ไข หรือ เผยแพร่ โดยมิได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจาก Sages Academy ผู้ละเมิดจะถูกดำเนินคดีตามกฎหมาย






ศึกษาฤกษ์ 64 ข่วย ให้รู้ถึงที่ไปที่มา ตอนที่ 1.2



หมายเหตุ การแทน 60 กระจื้อเป็นข่วย (ที่มาของลักจับกะจื้อนั้น มาจากการจับคู่ของพลัง 10 ราศีฟ้า (บน) และ 12 ราศีดิน (ล่าง) แล้วนับมาจับคู่พลังกัน โดยพลังเอี้ยงจับคู่พลังเอี้ยง พลังอิมจับคู่พลังอิม ดังนี้

ราศีฟ้า (บน)


อักษร
   癸
ชื่อ
กะ
อิก
เปี้ย
เต็ง
โบ่ว
กี้
แก
ซิง
หยิ่ม
กุ่ย
พลัง
เอี้ยง
อิม
เอี้ยง
อิม
เอี้ยง
อิม
เอี้ยง
อิม
เอี้ยง
อิม
ธาตุ
ไม้
ไม้
ไฟ
ไฟ
ดิน
ดิน
ทอง
ทอง
น้ำ
น้ำ


ราศีดิน (ล่าง)


อักษร
  亥
ชื่อ
จื้อ
ทิ่ว
อิ๊ง
เบ้า
ซิ้ง
จี๋
โง่ว
บี่
ซิม
อิ้ว
สุก
ไห
พลัง
เอี้ยง
อิม
เอี้ยง
อิม
เอี้ยง
อิม
เอี้ยง
อิม
เอี้ยง
อิม
เอี้ยง
อิม
ธาตุ
น้ำ
ดิน
ไม้
ไม้
ดิน
ไฟ
ไฟ
ดิน
ทอง
ทอง
ดิน
น้ำ
นักษัตร
ชวด
ฉลู
ขาล
เถาะ
มะโรง
มะเส็ง
มะเมีย
มะแม
วอก
ระกา
จอ
กุน

หมายเหตุ 12 ราศีดิน/12 ราศีล่างนี้ ชาวจีนใช้กำหนดปี เดือน วัน และเวลา ว่าเป็นนักษัตรใด

ต่อมาเป็นการจับคู่ของ 60 กะจื้อ โดยพิจาณานำเอาราศีฟ้ามาเป็นตัวยืน แล้วจับคู่กับราศีดิน เฉพาะตัวที่มีพลังเดียวกันเท่านั้น ตามตารางต่อไปนี้

甲子
丙子
戊子
庚子
壬子
ราศีฟ้าพลังเอี้ยง จับคู่กับตัว 子 [จื้อ] ราศีดินพลังเอี้ยง
乙丑
丁丑
己丑
辛丑
癸丑
ราศีฟ้าพลังอิม จับคู่กับตัว 丑 [ทิ่ว] ราศีดินพลังอิม
丙寅
戌寅
庚寅
壬寅
甲寅
ราศีฟ้าพลังเอี้ยง จับคู่กับตัว 寅 [อิ๊ง] ราศีดินพลังเอี้ยง
丁卯
己卯
辛卯
癸卯
乙卯
ราศีฟ้าพลังอิม จับคู่กับตัว 卯 [เบ้า] ราศีดินพลังอิม
戊辰
庚辰
壬辰
甲辰
丙辰
ราศีฟ้าพลังเอี้ยง จับคู่กับตัว 辰 [ซิ้ง] ราศีดินพลังเอี้ยง
己巳
辛巳
癸巳
乙巳
丁巳
ราศีฟ้าพลังอิม จับคู่กับตัว 巳 [จี๋] ราศีดินพลังอิม
庚午
壬午
甲午
丙午
戊午
ราศีฟ้าพลังเอี้ยง จับคู่กับตัว 午 [โง่ว] ราศีดินพลังเอี้ยง
辛未
癸未
乙未
丁未
己未
ราศีฟ้าพลังอิม จับคู่กับตัว 未 [บี่] ราศีดินพลังอิม
壬申
甲申
丙申
戊申
庚申
ราศีฟ้าพลังเอี้ยง จับคู่กับตัว 申 [ซิม] ราศีดินพลังเอี้ยง
癸酉
乙酉
丁酉
己酉
辛酉
ราศีฟ้าพลังอิม จับคู่กับตัว 酉 [อิ้ว] ราศีดินพลังอิม
甲戌
丙戌
戊戌
庚戌
壬戌
ราศีฟ้าพลังเอี้ยง จับคู่กับตัว 戌 [สุก] ราศีดินพลังเอี้ยง
乙亥
丁亥
己亥
辛亥
癸亥
ราศีฟ้าพลังอิม จับคู่กับตัว 亥 [ไห] ราศีดินพลังอิม
 
การจับคู่หา 60 กะจื้อ ได้แสดงวิธีการพิจารณา การเลือกพลังในการจับคู่ โดยใช้หลักการของ 10 ราศีฟ้า และ 12 ราศีดิน ตามตารางซึ่งแสดงข้างบนไว้เป็นที่เรียบร้อยแล้ว สำหรับผู้ที่ไม่เคยศึกษามาก่อน อาจสับสน และ ออกอาการมึน เพราะเห็นอักษรจีนจำนวนมาก แต่ทั้งนี้ ควรทราบว่า เมื่อเราจะศึกษาวิชาโหราศาสตร์จีน ควรต้องทราบอักษรจีนบ้าง ไม่มากก็น้อย จุดนี้เอง ควรสนใจศึกษา หัดเขียน ฝึกฝน ท่องจำอักษรจีน ซึ่งถูกนำมาใช้บ่อยในวิชาโหราศาสตร์จีน ระบบ ฟ้า ดิน คน หากจะมีผู้อ้างว่า ผู้ศึกษาวิชานี้ ไม่จำเป็นต้องมีความรู้พื้นฐานภาษาจีนเลย ข้อนี้ไม่ถูกต้อง แม้หากเราจะศึกษาวิชาอะไรให้แตกฉานนั้น ควรต้องรู้จักกฏ ระเบียบ สูตร สมการ และ สัญลักษณ์ของวิชานั้นๆ เช่น ในหลักวิชาสมัยใหม่ สัญลักษณ์ในวิชาคณิตศาสตร์ และ แคลคูลัส ยังถูกจดจำ ทั้งนี้ไม่รวมกับสูตร อินติกรัล ดิฟฟิเนนเชี่ยล ฯลฯ มีบทกลอนโบราณว่า “เรียนอะไร ให้เรียนรู้แต่ถ่ายเดียว เรียนให้เชี่ยวชาญเถิด จะเกิดผล” ข้อนี้เป็นความจริง สำหรับประโยชน์ของ 60 กะจื้อนี้ มีมากมายเหลือเกิน เพราะถูกนำมาใช้ในระบบโหราศาสตร์จีนทุกแขนง ผู้สนใจควรศึกษาจดจำ อย่ารีบร้อน ข้าพเจ้ายังไม่ตาย ยังจะอธิบาย ชี้แนะท่านไปได้อีกนาน


สิ่งที่ควรทราบอีกอย่างคือ ลักจับกะจื้อมีทั้งสิ้น 60 ชุด ส่วนข่วยมีทั้งหมด 64 ชุด ทำให้เกิดการแทนลักจับกะจื้อเทียบข่วยซ้ำกัน 4 ชุด คือ

1
1
1
8
甲子
[กะจื้อ]
甲子
[กะจื้อ]


9
9
1
8
甲午
[กะโง่ว]
甲午
[กะโง่ว]


3
4
1
2
庚寅
[แกอิ๊ง]
庚寅
[แกอิ๊ง]


7
6
1
2
庚申
[แกซิม]
庚申
[แกซิม]
 
ต่อไปเป็น วิธีการจำสัญลักษณ์ข่วย และ ยุค ซึ่งมีปรากฏในหนังสือฮวงจุ้ย 64 ข่วย ที่วางขายในร้านหนังสือของฮ่องกง และ ไต้หวัน
  • ยุค 1 เหมือนกันหมดทุกเส้น
  • ยุค 2 เส้นที่ 1 เหมือนกัน อีก 2 เส้น ไม่เหมือนกัน
  • ยุค 3 เส้นที่ 2 เหมือนกัน อีก 2 เส้น ไม่เหมือนกัน
  • ยุค 4 เส้นที่ 3 เหมือนกัน อีก 2 เส้น ไม่เหมือนกัน
  • ยุค 6 เส้นที่ 3 ต่างกัน อีก 2 เส้น เหมือนกัน
  • ยุค 7 เส้นที่ 2 ต่างกัน อีก 2 เส้น เหมือนกัน
  • ยุค 8 เส้นที่ 1 ต่างกัน อีก 2 เส้น เหมือนกัน
  • ยุค 9 ต่างกันทุกเส้น
(ความเหมือนกัน และ ความต่างกัน นับจากข่วยสามเส้นบน และ ข่วยสามเส้นล่าง เทียบกัน หมายถึง สามเส้นบน และ สามเส้นล่าง รวมหกเส้น ใน 1 ข่วย)


การกำหนดยุคใน 64 ข่วย ที่เขาเปิดสอนกัน

- ยุคต้น ประกอบด้วยยุค 1 2 3 4
- ยุคปลาย ประกอบด้วยยุค 6 7 8 9


การกำหนดยุคนั้น ใช้ธาตุสัญลักษณ์ข่วยตามระบบข่วยของข่วยก่อนฟ้า (โซยทีโป๊ยข่วย)


การนับจำนวนปีของแต่ละยุค นับจาก เส้น (เส้นขาด) อิม = 6 ปี และ เส้น (เส้นเต็ม) เอี้ยง = 9 ปี
 
ยุค
สัญลักษณ์
ชื่อ
จำนวนปี
ช่วงระยะเวลา (พ.ศ.)
1
[คุง]
6+6+6 = 18
2407-2424
2
[สุ่ง]
9+9+6 = 24
2425-2448
3
[ลี้]
9+6+9 = 24
2449-2472
4
[ต๋วย]
6+9+9 = 24
2473-2496
5
ไม่มียุค และ ช่วงเวลา
6
[กึ่ง]
9+6+6 = 21
2497-2517
7
[คั่ม]
6+9+6 = 21
2518-2538
8
[จิ้ง]
6+6+9 = 21
2539-2559
9
[เคี้ยง]
9+9+9 = 27
2560-2586
 
รวมระยะเวลาของทุกยุค 180 ปี เมื่อครบ 9 ยุค แล้วจะเวียนกลับไปยุค 1 อีกครั้ง เวียนไปเรื่อยๆ

หมายเหตุ การกำหนดยุคในระบบซำง้วน 64 ข่วย จะกำหนดยุคละ 20 ปี เท่าๆ กัน


พ่อ แม่ ฟ้า ดิน คน ของข่วย

ข่วยที่มีตัวเลขกำกับยุคเป็น 1 คือ ข่วยพ่อ-แม่


9
4
3
8
2
7
6
1
1
1
1
1
1
1
1
1
แทนลักจั๊บกะจื้อ (60 กะจื้อ) เพื่อนำไปเทียบ ปี เดือน วัน ยาม ในระบบฤกษ์ยาม หรือ เทียบองศาในระบบฮวงจุ้ย
甲午
[กะโง่ว]
丙辰
[เปี้ยซิ้ง]
庚寅
[แกอิ๊ง]
壬子
[หยิ่มจื้อ]
壬午
[หยิ่มโง่ว]
庚申
[แกซิม]
丙戌
[เปี้ยสุก]
甲子
[กะจื้อ]
 

ข่วยที่มีตัวเลขกำกับยุคเป็น 2 คือ ข่วยฟ้า


9
4
3
8
2
7
6
1
2
2
2
2
2
2
2
2
แทนลักจั๊บกะจื้อ (60 กะจื้อ) เพื่อนำไปเทียบ ปี เดือน วัน ยาม ในระบบฤกษ์ยาม หรือ เทียบองศาในระบบฮวงจุ้ย
己丑
[กี้ทิ่ว]
庚寅
[แกอิ๊ง]
甲辰
[กะซิ้ง]
己巳
[กี้จี๋]
己亥
[กี้ไห]
甲戌
[กะสุก]
庚申
[แกซิม]
己未
[กี้บี่]
 

ข่วยที่มีตัวเลขกำกับยุคเป็น 3 คือ ข่วยคน


9
4
3
8
2
7
6
1
3
3
3
3
3
3
3
3
แทนลักจั๊บกะจื้อ (60 กะจื้อ) เพื่อนำไปเทียบ ปี เดือน วัน ยาม ในระบบฤกษ์ยาม หรือ เทียบองศาในระบบฮวงจุ้ย
辛未
[ซิงบี่]
丙午
[เปี้ยโง่ว]
乙亥
[อิกไห]
辛酉
[ซิงอิ้ว]
辛卯
[ซิงเบ้า]
乙巳
[อิกจี๋]
丙子
[เปี้ยจื้อ]
辛丑
[ซิงทิ่ว]
 

ข่วยที่มีตัวเลขกำกับยุคเป็นเลข 4 คือ ข่วยดิน


9
4
3
8
2
7
6
1
4
4
4
4
4
4
4
4
แทนลักจั๊บกะจื้อ (60 กะจื้อ) เพื่อนำไปเทียบ ปี เดือน วัน ยาม ในระบบฤกษ์ยาม หรือ เทียบองศาในระบบฮวงจุ้ย
乙酉
[อิกอิ้ว]
壬戌
[หยิ่มสุก]
戊午
[โบ่วโง่ว]
丙申
[เปี้ยซิม]
丙寅
[เปี้ยอิ๊ง]
戊子
[โบ่วจื้อ]
壬辰
[หยิ่มซิ้ง]
乙卯
[อิกเบ้า]
 

ข่วยที่มีตัวเลขกำกับยุคเป็นเลข 6 คือ ข่วยดิน


9
4
3
8
2
7
6
1
6
6
6
6
6
6
6
6
แทนลักจั๊บกะจื้อ (60 กะจื้อ) เพื่อนำไปเทียบ ปี เดือน วัน ยาม ในระบบฤกษ์ยาม หรือ เทียบองศาในระบบฮวงจุ้ย
戊辰
[โบ่วซิ้ง]
癸巳
[กุ่ยจี๋]
乙丑
[อิกทิ่ว]
戊寅
[โบ่วอิ๊ง]
戊申
[โบ่วซิม]
乙未
[อิกบี่]
癸亥
[กุ่ยไห]
戊戌
[โบ่วสุก]
 

ข่วยที่มีตัวเลขกำกับยุคเป็นเลข 7 คือ ข่วยคน


9
4
3
8
2
7
6
1
7
7
7
7
7
7
7
7
แทนลักจั๊บกะจื้อ (60 กะจื้อ) เพื่อนำไปเทียบ ปี เดือน วัน ยาม ในระบบฤกษ์ยาม หรือ เทียบองศาในระบบฮวงจุ้ย
壬寅
[หยิ่มอิ๊ง]
丁丑
[เต็งทิ่ว]
辛巳
[ซิงจี๋]
癸卯
[กุ่ยเบ้า]
癸酉
[กุ่ยอิ้ว]
辛亥
[ซิงไห]
丁未
[เต็งบี่]
壬申
[หยิ่มซิม]
 

ข่วยที่มีตัวเลขกำกับยุคเป็นเลข 8 คือ ข่วยฟ้า


9
4
3
8
2
7
6
1
8
8
8
8
8
8
8
8
แทนลักจั๊บกะจื้อ (60 กะจื้อ) เพื่อนำไปเทียบ ปี เดือน วัน ยาม ในระบบฤกษ์ยาม หรือ เทียบองศาในระบบฮวงจุ้ย
甲午
[กะโง่ว]
癸未
[กุ่ยบี่]
己酉
[กี้อิ้ว]
丁亥
[เต็งไห]
丁巳
[เต็งจี๋]
己卯
[กี้เบ้า]
癸丑
[กุ่ยทิ่ว]
甲子
[กะจื้อ]
 

ข่วยที่มีตัวเลขกำกับยุคเป็นเลข 9 คือ ข่วยพ่อ-แม่


9
4
3
8
2
7
6
1
9
9
9
9
9
9
9
9
แทนลักจั๊บกะจื้อ (60 กะจื้อ) เพื่อนำไปเทียบ ปี เดือน วัน ยาม ในระบบฤกษ์ยาม หรือ เทียบองศาในระบบฮวงจุ้ย
庚戌
[แกสุก]
丁酉
[เต็งอิ้ว]
甲申
[กะซิม]
庚午
[แกโง่ว]
庚子
[แกจื้อ]
甲寅
[กะอิ๊ง]
丁卯
[เต็งเบ้า]
庚辰
[แกซิ้ง]
 
ดังที่ได้แสดงมาแล้วว่า การพิจารณาว่า ข่วยชุดใดเป็นชุดของ พ่อ-แม่ ฟ้า ดิน คน โดยพิจารณาจากตัวเลขกำกับ (อุ่ง) ยุค คือ ตัวเลขด้านล่าง ส่วนตัวเลขด้านบนจะแสดงธาตุ และ (ขี่) พลังของข่วยนั้นๆ

บทความตอนที่ 1 นี้ ก็ขอจบไว้แค่นี้ก่อน ขืนอธิบายมากไป คนที่ไม่มีพื้นฐานเลย จะงง

ในคราวต่อไปจะอธิบาย
 
ตอนที่ 2 จะประกอบด้วย
  • วิธีการหาสมาชิกครอบครัวของข่วย การต่งง้าว (ตามที่เขาสอนกันทั่วโลก และ ในประเทศไทย)
  • กฏพื้นฐานในการหาฤกษ์ยาม (ตามที่เขาสอนกันทั่วโลก และ ในประเทศไทย)
  • ความสัมพันธ์ ภาคี 5 10 15 ฮะแซเซ้ง เจ๊กข่วยซุ่งเช็ง อุ่งเชียงธง ฯลฯ ในการหารูปฤกษ์ (ตามที่เขาสอนกันทั่วโลก และ ในประเทศไทย)
  • ทิศทางตามระบบ 64 ข่วย (ตามที่เขาสอนกันทั่วโลก และ ในประเทศไทย)

ตอนที่ 3 จะประกอบด้วย
  • การพิจารณารูปฤกษ์ บุคคล และ ทิศทาง (ตามที่เขาสอนกันทั่วโลก และ ในประเทศไทย)
  • ขั้นตอนการหาฤกษยาม 64 ข่วย (ตามที่เขาสอนกันทั่วโลก และ ในประเทศไทย)
  • รูปฤกษ์แบบต่างๆ (ตามที่เขาสอนกันทั่วโลก และ ในประเทศไทย)
  • ตัวอย่างรูปฤกษ์ 64 ข่วย (ตามที่เขาสอนกันทั่วโลก และ ในประเทศไทย)
  • บทสรุปของรูปฤกษ์ 64 ข่วย (ตามที่เขาสอนกันทั่วโลก และ ในประเทศไทย)
  • ข้อสังเกต ข้อเสีย ผลกระทบ และ ข้อควรระวัง ในการใช้รูปฤกษ์ 64 ข่วย


หมายเหตุ Sages เผยแพร่บทความนี้เมื่อวันที่ 9 สิงหาคม 2552 เวลา 18.30 น. สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติปี 2537 ห้ามมิให้นำส่วนหนึ่งส่วนใดของบทความดังกล่าว ไปดัดแปลง แก้ไข หรือ ทำซ้ำ เพื่อนำไปใช้สอน หรือ เผยแพร่ ในทางพาณิชย์ โดยมิได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจาก Sages Academy และ มีตราประทับเท่านั้น



อ่านบทความคุยกับซินแสทั้งหมด >>> คลิ๊กที่นี่

 

บทความยอดนิยม Popular Articles

บทความล่าสุด Latest Articles

เรื่องน่าสนใจ Sages Recommend



กรณีที่ท่านมีปัญหาในการเข้าชมเว็บนี้ อันเนื่องมาจากเวอร์ชั่นของ Internet Explorer (IE) ของท่านเป็นเวอร์ชั่น 6 หรือต่ำกว่า ดังนั้นเพื่อให้เข้าชมเว็บให้ได้อย่างมีอรรถรส กรุณาอัพเดทเวอร์ชั่นของ Internet Explorer (IE) เป็นเวอร์ชั่น 7 ก่อน สามารถดาวน์โหลดได้ที่นี่

หรือทำการติดตั้ง Firefox สามารถดาวน์โหลดได้ที่นี่

 

Your are currently browsing this site with Internet Explorer 6 (IE6).

Your current web browser must be updated to version 7 of Internet Explorer (IE7) to take advantage of all of template's capabilities. Download IE7